หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมทางเภสัชศาสตร์ หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2565


ชื่อหลักสูตร หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมทางเภสัชศาสตร์
ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
(ภาษาไทย)

วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (นวัตกรรมทางเภสัชศาสตร์)

วท.ม. (นวัตกรรมทางเภสัชศาสตร์)

ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
(ภาษาอังกฤษ)

Master of Science Program (Pharmaceutical Innovation)

M.Sc. (Pharmaceutical Innovation)

จำนวนหน่วยกิต แผน ก แบบ ก2 จำนวนไม่น้อยกว่า 36 (5) หน่วยกิต
ระยะเวลาศึกษา หลักสูตรภาษาไทย 2 ปี
อาชีพที่สามารถประกอบอาชีพได้หลังสำเร็จการศึกษา

1. บุคลากรทางการศึกษา ในหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน

2. บุคลากรทางการแพทย์ ในหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน

3. นักวิจัย นักวิชาการ ในหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน

4. นักวิเคราะห์และวางแผนด้านนโยบายสุขภาพ ในหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน

5. นวัตกรทางการแพทย์ นวัตกรทางเภสัชกรรม นวัตกรทางสุขภาพ และนวัตกรในสถาบันต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน

6. ผู้ประกอบการ เจ้าของธุรกิจสตาร์ทอัพ ธุรกิจส่วนตัวด้านสุขภาพ

7. อาชีพอื่น ๆ ที่มีการสร้างนวัตกรรมทางเภสัชศาสตร์หรือทางสุขภาพเพื่อใช้ในการพัฒนา คุณภาพของสินค้าหรือบริการ หรือแก้ไขปัญหาในการทำงานด้านสุขภาพ

ค่าธรรมเนียมการศึกษา ภาคเรียนละ 25,000 บาท
PLOs

รายละเอียดหลักสูตร

Drpajaree.mo
ผศ.ดร.ปาจรีย์ มงคล

ประธานหลักสูตรปริญญาโท

Email : pajaree.mo@up.ac.th

Scopus Goolge scholar

DrSupawadee
ผศ.ดร.สุภาวดี บุญทา

อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและอาจารย์ประจำหลักสูตร

Email : supavadee.bo@up.ac.th

Scopus Goolge scholar
DrSurasak
รศ.ดร.ภก.สุรศักดิ์ เสาแก้ว

อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและอาจารย์ประจำหลักสูตร

Email : surasak.sa@up.ac.th

Scopus Goolge scholar
DrSakorn
รศ.ดร.สาคร เมฆรักษาวนิช

อาจารย์ประจำหลักสูตร

Email : sakorn.me@up.ac.th

Scopus Goolge scholar
DrJakkarin
ผศ.ดร.จักรินทร์ ศรีวิไล

อาจารย์ประจำหลักสูตร

Email : jukkarin.sr@up.ac.th

Scopus Goolge scholar
DrSupang
รศ.ดร.ศุภางค์ คนดี

อาจารย์ประจำหลักสูตร

Email : supang.kh@up.ac.th

Scopus Goolge scholar
Drbuntong
ดร.บรรเทิง ยานะ

อาจารย์ประจำหลักสูตร

Email : buntueng.ya@up.ac.th

Scopus Goolge scholar
คำถามที่พบบ่อย

Answer: นวัตกรรมไม่ได้หมายถึงสิ่งประดิษฐ์ หรือผลิตภัณฑ์ใหม่เท่านั้น นวัตกรรมทางเภสัชศาสตร์ สามารถเป็นได้ทั้งผลิตภัณฑ์ บริการ กระบวนการ การบริหารจัดการ ระบบ แนวทางปฏิบัติ หรือความรู้ที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพหรือเภสัชศาสตร์ โดยเป็นสิ่งที่ยังไม่เคยมีมาก่อน หรือเป็นการพัฒนาดัดแปลงจากสิ่งที่มีอยู่เดิม นำมาต่อ ยอดให้ดีขึ้น เพื่อให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมและเศรษฐกิจ

Answer: ผู้ที่สนใจพัฒนานวัตกรรมทางด้านสุขภาพ โดยผู้ที่ไม่ได้จบปริญญาตรีเภสัชศาสตรบัณฑิตสามารถสมัครได้ คุณสมบัติของผู้สมัคร ได้แก่ เป็นผู้สำเร็จปริญญาตรีหรือเทียบเท่าจากสถาบันการศึกษาที่สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษาให้การรับรอง ยกเว้นผู้ที่ต้องการศึกษาวิชาเอกวิทยาศาสตร์เภสัชกรรมและเครื่องสำอาง จะต้องจบปริญญาตรีหรือเทียบเท่าในสาขาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีหรือวิทยาศาสตร์สุขภาพ

Answer: ไม่มีปัญหา เนื่องจากในหลักสูตรจะมีวิชาปรับพื้นฐานให้ทุกคนเรียนก่อน

Answer: ผู้ที่คาดว่าจะสำเร็จการศึกษาในปี 2566 สามารถสมัครสอบได้ แต่จะต้องสำเร็จการศึกษาก่อนขึ้นทะเบียนเป็นนิสิตใหม่ของหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมทางเภสัชศาสตร์

A: ในหลักสูตร แบ่งวิชาเอกออกเป็น 4 กลุ่ม โดยผู้เรียนสามารถเลือกได้ตามความสนใจหรือความถนัดของตนเอง
- ระบบสุขภาพ เวชปฏิบัติและนโยบาย
- เภสัชวิทยาและสุขภาพโลก
- วิศวกรรมสารสนเทศทางเภสัชศาสตร์และสุขภาพ
- วิทยาศาสตร์เภสัชกรรมและเครื่องสำอาง

A: ระยะเวลาการศึกษา หลักสูตร 2 ปี โดยชื่อปริญญา ได้แก่
- ภาษาไทย: วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (นวัตกรรมทางเภสัชศาสตร์)
- ภาษาอังกฤษ: Master of Science Program (Pharmaceutical Innovation)

A: 25,000 บาทต่อเทอม

A: สมัครเรียนผ่านระบบออนไลน์ admission.up.ac.th

A: ตอนสมัครเข้าเรียน อาจไม่จำเป็นต้องมีผลคะแนนภาษาอังกฤษ แต่ก่อนสำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโท นิสิตต้อง
1. มีผลการสอบเทียบความรู้ภาษาอังกฤษที่ศูนย์ภาษาจัดให้ โดยได้คะแนนไม่ต่ำกว่าร้อยละ 60 หรือ
2. มีผลการสอบ TOEFL ITP ได้คะแนนไม่ต่ำกว่า 450 หรือ มีผลการสอบ TOEFL IBT ได้คะแนนไม่ต่ำว่า 45 หรือ
3. มีผลการสอบ IELTS ได้คะแนนไม่ต่ำกว่า 4.0 หรือ
4. สอบผ่ายรายวิชา 146700 Intensive English for Graduate Studies หรือสอบผ่านภาษาอังกฤษ English for Graduate Studies level I อย่างไรก็ตาม ทางหลักสูตรแนะนำว่า หากมีผลคะแนนภาษาอังกฤษดังกล่าวมาก่อนที่จะเข้าเรียน จะทำให้นิสิตไม่ต้องกังวลเกี่ยวกับผลภาษาอังกฤษก่อนสำเร็จการศึกษา และทำให้นิสิตมีเวลาโฟกัสกับการเรียนและการทำวิทยานิพนธ์มากขึ้น ผู้สนใจสามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับการสอบภาษาอังกฤษได้จาก ประกาศมหาวิทยาลัยพะเยา เรื่อง การสอบผ่านความรู้ภาษาอังกฤษของนิสิตระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2562
student1
นางสาวพัทธ์ธีรา อุ่นบุญธรรม

ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์: ผศ.ดร.จักรินทร์ ศรีวิไล

student2
นายกฤตานนท์ แซ่ซื้อ

ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์: ผศ.ดร.จักรินทร์ ศรีวิไล

student3
นางสาวเพ็ญพักตร์ พรมปัญญา

ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์: รศ.ดร.ศุภางค์ คนดี

student3
นางสาววงศ์วรัณ แสงตะคล้อ
student3
นางสาวกฤษฏิ์ภวิกา กนกพงษ์เสถียร

โครงสร้างหลักสูตร

masterDegree

ประมวลภาพกิจกรรมปฐมนิเทศนิสิตบัณฑิตศึกษา ปริญญาโท-ปริญญาเอก สาขาวิชานวัตกรรมทางเภสัชศาสตร์ ปีการศึกษา 2567 วันที่ 10 มิถุนายน 2567 ออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom

masterDegree1 masterDegree2 masterDegree33 masterDegree33

ประมวลภาพการสอบโครงร่างวิทยานิพนธ์ ระดับปริญญาโท

การสอบโครงร่างวิทยานิพนธ์ของ นางสาวพัทธ์ธีรา อุ่นบุญธรรม รหัสนิสิต 65061660
masterDegree1
การสอบโครงร่างวิทยานิพนธ์ของ นายกฤตานนท์ แซ่ซื้อ รหัสนิสิต 65061659
masterDegree2
การสอบโครงร่างวิทยานิพนธ์ของ นางสาวเพ็ญพักตร์ พรมปัญญา รหัสนิสิต 65061671
masterDegree33

หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมทางเภสัชศาสตร์ หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2565


ชื่อหลักสูตร หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชานวัตกรรมทางเภสัชศาสตร์
ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
(ภาษาไทย)

ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (นวัตกรรมทางเภสัชศาสตร์)

ปร.ด. (นวัตกรรมทางเภสัชศาสตร์)

ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
(ภาษาอังกฤษ)

Doctor of Philosophy (Pharmaceutical Innovation)

Ph.D. (Pharmaceutical Innovation)

จำนวนหน่วยกิต

แผน 1.1 จำนวนหน่วยกิตไม่น้อยกว่า 48 (2) หน่วยกิต

แผน 2.1 จำนวนหน่วยกิตไม่น้อยกว่า 48 (2) หน่วยกิต

แผน 2.2 จำนวนหน่วยกิตไม่น้อยกว่า 72 (3) หน่วยกิต

ระยะเวลาศึกษา

แผน 1.1 ระยะเวลาศึกษา 3 ปี

แผน 2.1 ระยะเวลาศึกษา 3 ปี

แผน 2.2 ระยะเวลาศึกษา 4 ปี

อาชีพที่สามารถประกอบอาชีพได้หลังสำเร็จการศึกษา

1. บุคลากรทางการแพทย์ ในหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน

2. บุคลากรทางการศึกษา ในหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน

3. นักวิจัย นักวิชาการ ในหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน

4. นวัตกรในสถาบันต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน

5. ผู้ประกอบการ เจ้าของธุรกิจ start up ธุรกิจส่วนตัวด้านสุขภาพ

6. นักวิเคราะห์และวางแผนด้านนโยบายสุขภาพ ในหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน

7. อาชีพอื่น ๆ ที่มีการสร้างนวัตกรรมทางเภสัชศาสตร์หรือทางสุขภาพเพื่อใช้ในการพัฒนา คุณภาพของสินค้าหรือบริการ หรือแก้ไขปัญหาในการทำงานด้านสุขภาพ

ค่าธรรมเนียมการศึกษา ภาคเรียนละ 50,000 บาท

รายละเอียดหลักสูตร